คณะกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานอู่ทหารเรือธนบุรี

Release Date : 09-03-2023 13:06:24
คณะกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานอู่ทหารเรือธนบุรี

  ด้านการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน

มิติที่ 1 ประสิทธิผล

        1.แผนงานด้านการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน

          1.1 แผนงานด้านการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน : คลิ๊กที่นี่

          1.2 รายงานตามวงรอบ ด้านการส่งเสริมความปลอดภัย

          1.3 การปรับแผน เพื่อแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องด้านการส่งเสริมความปลอดภัย

          1.4 หน่วยสามารถปฏิบัติตามแผนงานด้านการส่งเสริมความปลอดภัย

มิติที่ 2 คุณภาพการปฏิบัติงาน

        2 คุณภาพ และความโปร่งใส

          2.1 กระบวนการประเมินผลงาน ผลการปฏิบัติงาน ความเหมาะสม และเป็นธรรม

          2.2 หน่วยปฏิบัติงานอยู่บนพื้นฐานระเบียบ ข้อบังคับ และเอกสารอ้างอิง ดังนี้ : คลิ๊กที่นี่

            2.2.1 อทร.9204 คู่มือการปฏิบัติเกี่ยวกับสถานีดับเพลิงของหน่วยต่าง ๆ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง : คลิ๊กที่นี่

            2.2.2 อทร.9205 มาตรฐานพัสดุป้องกันความเสียหายกองทัพเรือ : คลิ๊กที่นี่

            2.2.3 อทร.9206 หลักเกณฑ์การกำหนดเครื่องมือดับเพลิงขั้นต้นของ ทร. : คลิ๊กที่นี่

            2.2.4 อทร.9207 นโยบายและมาตรการในการป้องกันอุบัติภัยของกองทัพเรือ : คลิ๊กที่นี่

            2.2.5 อทร.9208 มาตรฐานการป้องกันอัคคีภัยประจำอาคาร : คลิ๊กที่นี่

            2.2.6 อทร.9602 มาตรฐานความปลอดภัยการทํางานในโรงงาน พ.ศ.2554 : คลิ๊กที่นี่

            2.2.7 กฎข้อบังคับและคู่มือความปลอดภัย ของ อธบ.อร. : คลิ๊กที่นี่

            2.2.8 พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน : คลิ๊กที่นี่

            2.2.9 ระเบียบกองทัพเรือ ว่าด้วยการปฏิบัติเกี่ยวกับอัคคีภัย พ.ศ.2531 : คลิ๊กที่นี่                   

          2.3 การนำระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานได้ : คลิ๊กที่นี่

          2.4 มีมาตรการส่งเสริมให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานตามกฏระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง : คลิ๊กที่นี่

          2.5 การสำรวจความพึงพอใจ ผู้รับผลผลิต/การบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการตรวจสอบความปลอดภัยในการทำงาน : คลิ๊กที่นี่

มิติที่ 3 ประสิทธิภาพ

        3.ดำเนินการด้านการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน

           3.1 การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ด้านการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานประจำหน่วย : คลิ๊กที่นี่

           3.2 การกำหนดกระบวนการขั้นตอนหรือระเบียบเกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน และความรู้ ความเข้าใจของกำลังพลและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องการกระทำที่ไม่ปลอดภัยหรือไม่ (Unsafe Action) และสภาพการกระทำที่ไม่ปลอดภัยหรือไม่ (Unsafe Condition): คลิ๊กที่นี่

           3.3 การชี้แจง แนะนำการปฏิบัติ ก่อนลงปฏิบัติงาน และการแลกความคิดเห็น ข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน

           3.4 การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย และการทำแนวขีดเส้น ปัองกันการปฏิบัติงานกับเครื่องมือที่มีความเสี่ยงที่เกิดอันตรายสูง

           3.5 การให้ความรู้ ความเข้าใจ ในการใช้ Personal Protective Equipment (PPE) ในการป้องกันอันตราย

           3.6 การติดป้ายประชาสัมพันธ์ ป้ายแนะนำ และป้ายแจ้งเตือนอันตรายจากการปฏิบัติงาน

           3.7 การจัดทำแบบฟอร์มการปฏิบัติด้านความปลอดภัย (Safety Check Sheet) และการปรับปรุง แก้ไข

           3.8 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน และมีการซ่อมบำรุงตามระยะเวลา

    4.ดำเนินการด้านการป้องกันความเสียหาย

           4.1 การแต่งตั้งนายทหาร ปคส. และการจัดสถานีดับเพลิ  : คลิ๊กที่นี่

           4.2 การกำหนดกระบวนการขั้นตอนหรือระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคี และความรู้ความเข้าใจของกำลังพลและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง

           4.3 การจัดทำแผนผังแสดงจุดติดตั้งเครื่องมือดับเพลิง แผ่นป้ายแสดงเส้นทางการขนย้ายและหนีไฟ และอื่นๆ

           4.4 มาตรฐาน และความเหมาะสม ของเครื่องมือ ปคส. ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบดับเพลิงอัตโนมัติและความพร้อมในการปฏิบัติเมื่อเกิดเพลิงไหม้

           4.5 การฝึกซ้อมสถานีดับเพลิง วินัยการฝึก ความเข้มแข็ง และการปฏิบัติถูกต้องตามขั้นตอน

           4.6 การบริหารกำลังพลผู้ปฏฺิบัติหน้าที่ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่แทนกันได้

     5. การดำเนินการด้านการป้องกัน และลดอุบัติภัย

           5.1 มาตรการป้องกันอุบัติภัย จราจร เคหะสถาน และการทำงาน : คลิ๊กที่นี่           

           5.2 ด้านการจราจร การจัดระเบียบเส้นทาง การจราจร และป้ายแจ้งเตือน    

           5.3 การจัดเส้นทางฉุกเฉิน : คลิ๊กที่นี่       

           5.4 ด้านเคหะสถาน สภาพอาคาร สถานที่ การจัดเก็บ วางสิ่งของ รวมทั้งสิ่งแวดล้อม : คลิ๊กที่นี่

           5.5 ความปลอดภัยของระบบไฟฟ้า แสงสว่าง เสียง และการระบายอากาศ : คลิ๊กที่นี่ 

           5.6 ด้านการทำงาน เครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในขณะปฏิบัติงาน

           5.7 การจัดเก็บและวางสิ่งของ เครื่องมือ และเครื่องใช้

     6. การดำเนินการด้านการประหยัดพลังงาน

           6.1 การแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านการประหยัดพลังงาน

           6.2 การจัดทำนโยบายและมาตรการประหยัดพลังงานของหน่วย : คลิ๊กที่นี่

           6.3 การรณรงค์การประหยัดพลังงาน ส่งเสริม กวดขัน  : คลิ๊กที่นี่

           6.4 การบันทึกและวิเคราะห์สถิติการใช้พลังงาน 

 มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร      

           7.1 การจัดการความรู้ภายในหน่วย ด้านการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน  : คลิ๊กที่นี่

           7.2 แนวทางการปฏิบัติที่ดี ในการดำเนินการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน

   ด้านการสุขาภิบาล

มิติที่ 1 ประสิทธิผล

        1. แผนงานด้านสุขาภิบาล      

          1.1 แผนงานด้านสุขาภิบาล มีเป้าหมายสอดคล้องกับแผน / นโยบาย / วิสัยทัศน์ของหน่วย   : คลิ๊กที่นี่

          1.2 ความสะอาด สภาพภายในอาคาร และสภาพภายนอกอาคาร

          1.3 การจัดเวชกรรมป้องกัน และอนามัยของหน่วย

          1.4  การรายงานผลให้กรมแพทย์ทหารเรือทราบ

มิติที่ 2 คุณภาพการปฏิบัติงาน

        2. คุณภาพและความโปร่งใส

          2.1 กระบวนการประเมินผลงาน ผลการปฏิบัติงาน ความเหมาะสม และเป็นธรรม

          2.2 หน่วยปฏิบัติงานอยู่บนพื้นฐานระเบียบ ข้อบังคับ และเอกสารอ้างอิง   : คลิ๊กที่นี่

         2.3 การนำระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานได้

         2.4 มีมาตรการส่งเสริมให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

         2.5 การสำรวจความพึงพอใจ ผู้รับผลผลิต/การบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการตรวจสุขาภิบาล

มิติที่ 3 ประสิทธิภาพ

        3.การบริหารจัดการ

          3.1 การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่สุขาภิบาลประจำหน่วย   : คลิ๊กที่นี่

          3.2 การสุขาภิบาลด้านสุขภาพอนามัย  : คลิ๊กที่นี่

          3.3 การกำจัดขยะมูลฝอย และของเสีย

          3.4 การบำบัดน้ำเสีย และการระบายน้ำทิ้ง

          3.5 ตวามสะอาดห้องน้ำ - ห้อมส้วม  : คลิ๊กที่นี่         

          3.6 อนามัย และความสะอาดในการจัดเลี้ยง 

มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร 

        4.การพัฒนาองค์กรขีดสมรรถนะสูง

         4.1 การจัดการความรู้ภายในหน่วย ด้านสุขาภิบาล และเวชกรรมป้องกัน

         4.2 แนวทางการปฏิบัติที่ดี ในการดำเนินการด้านสุขาภิบาล และเวชกรรมป้องกัน